วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

ศึกษาดูงานโรงเรียนพิบูลเวศม์

วันพุธที่ 3 มีนาคม 2559

ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้ได้ไปศึกษาดูงานที่ โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวสม์ ไปดูการเรียนการสอนของโรเรียนนั้น จะมีอะไรน่าสนใจบ้างไปดูกันเลย


  • ศึกษาดูงาน ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรีนพิบูลเวศน์ มีการสอนที่บรูณาการเน้นทั้ง4 ด้าน 
 -ร่างกาย
- อารมณ์ จิตใจ
- สังคม
- สติปัญญา

และนี้คือตัวอย่างสื่อการสอนในแต่ละห้องเรียน

























บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันพฤหัสบดี ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559

 (เวลา 14.30-17.30)


ความรู้ที่ได้รับ
ก่อนเริ่มการเรียนการสอน เริ่มจากการบริหารสมอง ซีกซ้าย ซีกขวา




และต่อมาอาจารย์ได้ทบทวนเกี่ยวกับ การสอนกิจกรรมเคลื่อไหวและจังหวะ

ตัวอย่าง
-กำหนดข้อตกลงว่า ถ้าคุณครูเคาะ 1 ครั้งให้เด็กๆก้าวไปในทิศทางใดก็ได้อย่างอิสระ 1 ก้าว
-ถ้าคุณครูเคาะ 2 ครั้ง ให้เด็กๆก้าวไปในทิศทางใดก็ได้อย่างอิสระ 2 ก้าว
-ถ้าคุณครูเคาะรัวๆให้เด็กเคลื่อนที่ไปรอบๆห้องอย่างอิสระในทิศทางใดก้ได้
-ถ้าคุณครูเคาะ2ครั้งติดกันดังๆ ให้เด็กๆหยุดทันทีในท่านั้น




การนำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้

ได้รู้เกี่ยวกับการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจะได้จดจำและนำเอาไปใช้ในการสอนต่อไป

ประเมิน

ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน 
ตั้งใจทำกิจกรรมและฟัง
ประเมินอาจารย์
นำเนื้อหามาสอนดี และตั้งใจสอน เข้าใจง่าย ไม่กดดันน่ารัก



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันจันทร์ ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

(เวลา 12.30-14.30 )

วันพฤหัสบดี ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559

 (เวลา 14.30-17.30)


ความรู้ที่ได้รับ

เนื้อหาการสอน สมรรถนะทั้ง 7 ด้านของเด็กปฐมวัยสมรรถนะคือการบงชี้ของแต่ละวัย

  • สมรรถนะทั้ง 7 ด้ายประกอบด้วย

การเคลื่อนไหวและสุขภาพทางกาย
พัฒนาการด้านสังคม
พัฒนาการด้านอารมณ์
พัฒนาการด้านการคิดและสติปัญญา
พัฒนาการด้านภาษา
พัฒนาการด้านจริยธรรม
พัฒนาการด้ารการสร้างสรรค์





กานำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้

การจัดกิจกรรมให้กับเด้กครูต้องคำนึงถึงพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กด้วย 

ประเมิน

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังและจดบันทึก

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังไม่ค่อนคุยกันเท่าไร

ประเมินอาจารย์
สอนดี โต้ตอบสอบถามนักศึกษาเป็นกันเองน่ารัก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันจันทร์ ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

(เวลา 12.30-14.30 )

วันพฤหัสบดี ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559

 (เวลา 14.30-17.30)

ความรู้ที่ได้รับ

เริ่มการเรียนคือ การพรีเซนต์งาน ในแต่ละกลุ่ม




ต่อมาเข้าสู่บทเรียนจาก การบริหารสมอง และพูดคุยเกี่ยวกับวันรุ่นสมัยนี้เพื่อนให้มองและสะท้อนดู
โดยกิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้เคลื่อนไหวอยู่กับที่ รอบแรกให้ทำเดี่ยว รอบต่อมาให้แบ่งกลุ่มและทำคนล้ะสองท่า เคลื่อนไหวจากข้างบน ลงสู่ข้างล่าง  เพื่อให้เราฝึกความกล้าแสดงออก 







จากนั้นอาจารย์ให้สอนพูดหน้าชั้นเรียน และสบตากับเด็ก โดยคิดท่า 3 ท่า พร้อมบอกรายละเอียด และให้เด็กสนุกสนานกับการสอนของเรา





การนำเอาไปประยุกต์ใช้

ได้เกี่ยวกับกรสอนเราต้องคำนึ่งถึง คำอธิบายและ ท่าท่าง เพราะเด็กอาจจะไม่เข้าใจและทำไม่ได้ ในขณะเวลาสอนเราต้องทำให้เด็กเกิดความสนุกสนาน และมีความสุขกับการทำกิจกรรม

ประเมิน 

ประเมินตนเอง
ตั้งใจคิดท่า และสอน ถึงแม้ว่าจะยังทำออกมาไม่เต็มที่ก็ตาม

ประเมินเพื่อน 
เพื่อนทุกคนทำมาได้ดี และตั้งใจ

ประเมินอาจารย์
ตั้งใจสอน และดูแลดีมาก ไม่กดดัน และคอยถามว่าทำได้หรือเปล่า

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันจันทร์ ที่ 25 มกราคม 2559

(เวลา 12.30-14.30 )

ความรู้ที่ได้รับ

คือการจัดประสบการณ์เคลื่อนไหวของเด็กปฐมวัย
ประเภทการเคลื่อนไหวและจังหวะมีดังต่อไปนี้
1การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับร่างการ เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด
2.การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับวัตถุ เช่น การขว้าง การตี การรับ
  
แนวทางการประเมิน 
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
2 .สังเกตทำท่าทางแปลกใหม่
3. สังเกตทำท่าทางตามคำสั่ง
4. สังเกตการแสดงออก
5. สังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม





จากนั้นก็สอนเกี่ยวกับ สมองซีกซ้าย และ ซีกขวา และอาจารย์ก็ได้เปิดวีดีโอให้ดูเกี่ยวกับท่าบริหารสมอง

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

มีแนวทางในการเอากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะไปใช้สอน และการบริหารสมองเพื่อนให้เด็กมีสมาธิในการเรียนมากยิ่งขึ้น

ประเมิน 

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟัง และ ดู และคอยจดเนื้อหาที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจฟังและจดตามที่สอน

ประเมินอาจารย์ 
อาจารย์สอนดี ตั้งใจ ไม่กดดัน สอนเป็นกันเองมาก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันจันทร์ ที่ 18 มกราคม 2559

(เวลา 12.30-14.30 )

วันพฤหัสบดี ที่ 21 มกราคม 2559

 (เวลา 14.30-17.30)


ความรู้ที่ได้รับ

เนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนทฤษฏี คือรายละเอียดต่างๆในรายวิชาเคลื่อนไหวและจังหวะ
การเคลื่อนไหวจะแบ่งออกเป็น 2 การเคลื่อนไหว คือ การเคลื่อที่ กับการอยู่กับที่
และองค์ประกอบของการเคลื่อนไหว 5 องค์ประกอบดังนี้

-การรู้จักส่วนต่างๆของร่างกาย
-บริเวณและเนื้อที่
-ระดับการเคลื่อนไหว
-ทิศทางของการเคลื่อนไหว
-การฝึกจังหวะ

ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วอาจารย์ให้ไปคิดเพลงและท่า เพื่อนออกมาแสดงความกล้าหน้าห้อง และหนูก็ได้ออกไปเป็นคนแรก 






และต่อมาอาจารย์พาฝึกสมอง ซีกซ้าย ซีกขวา เพื่อนพัฒนาสมอง




การนำเอาไปประยุกต์ใช้

 ดังนั้นจากเนื้อหา เราก้ได้รู้ถึงการเคลื่อนไหว และการสอนเคลื่อนไหวแบบเคาะจังหวะ ของเด็ก
สามารถนำเอาไปสอนเด็กเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายสามารถให้เด็กเกิดจินตนาการ คิดคิดริเริ่ม

ประเมิน

ประเมินตนเอง
ตั้งใจ ฟัง และทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน 
เพื่อนดูตั้งใจและทำกิจกรรมออกมาดี ดูสนุกดี

ประเมินอาจารย์
ตั้งใจสอน เอาเนื้อหามาดี ใจดีแถมน่ารักอีกด้วย


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันพฤหัสบดี ที่ 14 มกราคม 2559

 (เวลา 14.30-17.30)



ความรู้ที่ได้รับ  วันนี้เป็นการเรียนการสอนวันแรก เริ่มต้นด้วยการฝึกสมอง ซีกซ้ายซีกขวากันไปเลย


ต่อมาอาจารย์ให้เต้น T26 ที่เกี่ยวกับสัตว์ และให้เพื่อนๆแต่ล้ะคนออกมาทำท่าสัตว์แล้วให้เพื่อนๆทำตาม
ต่อมาก็ให้ดู วีดีโอเกี่ยวกับครู และให้ออกไปเต้น เพื่อนให้เพื่อนๆคิดท่าเพื่อนที่จะมาเต้นในสัปดาห์หน้า






การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

 สามารถนำเอาเพลงและท่าเต้นไปประยุกต์ใช้ในการสอนหรือนำเข้าสู้บทเรียนในการเคลื่อนไหวร่างการ

กระประเมินผล

ประเมินตนเอง 
ตั้งใจเรียน สนุกสนาน ชอบเวลาทำกิจกรรม

ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจทำกิจกรรม ดูตื่นเต้นตลอดเวลา

ประเมินครู 
ครู่ารักเป็นกันเองสอนเข้าใจ ชอบมาก